ทปอ. แนะยกเลิกการเรียนแยกสายวิทย์-สายศิลป์ ควรเรียนควบคู่กัน เว้นกรณีที่เด็กอยากเรียนเฉพาะด้านจริง ๆ ชี้ รัฐอยากให้เด็กเรียนสายวิทย์ แต่เด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนสายสังคม
![TCAS TCAS]()
ภาพประกอบไม่เกี่ยวข้องกับข้อมูล
- กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จำนวน 31,769 คน
- กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ จำนวน 25,349 คน
- กลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 24,297 คน
- กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จำนวน 14,880 คน
- กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ จำนวน 13,500 คน
- กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ จำนวน 11,045 คน
- กลุ่มสาขาวิชาวิศกรรมศาสตร์ 7,265 คน
- กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ 13,040 คน
- กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ 10,784 คน
ดร.พีระพงศ์ ระบุอีกว่า จากข้อมูลจะเห็นว่ามหาวิทยาลัยจะรับเด็กสายสังคมมากที่สุด เพราะเป็นความต้ดงการของผู้เรียน ขณะที่รัฐบาลมีเป้าหมายต้องการเน้นให้ผลิตเด็กสายวิทยาศาสตร์มากกว่า โดยกำหนดสัดส่วนสายวิทย์ และสายสังคม 60 ต่อ 40 ซึ่งมหาวิทยาลัยจะต้องมีการปฎิรูปการจัดการการเรียนการสอนใหม่ แต่การเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์ก็คงไม่ได้ไปเน้นการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์ทั้งหมด เพราะเวลาเราออกไปทำงานนั้นจะต้องใช้ความรู้ทั้งทางด้านวิทย์และศิลป์
ทั้งนี้ หลักสูตรการเรียนการสอนในอนาคตจะต้องไม่แยกสายวิทย์ และศิลป์ ยกเว้นต้องการเรียนเฉพาะด้านจริง ๆ อย่างไรก็ตาม ทปอ. มีการพูดคุยกัน และเห็นว่าการเรียนการสอนไม่ควรแยกสายวิทย์และสายศิลป์ ควรเรียนทั้ง 2 สายควบคู่กันไป

ภาพประกอบไม่เกี่ยวข้องกับข้อมูล
วันที่ 25 ธันวาคม 2562 เดลินิวส์ออนไลน์ รายงานว่า ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ
ผู้ช่วยเลขาธิการที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เปิดเผยว่า
จากฐานข้อมูลในระบบการสมัครคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
หรือ ทีแคส ประจำปีการศึกษา 2563
พบว่ากลุ่มสาขาวิชาที่มีจำนวนการรับนิสิตนักศึกษาตามแผนมากที่สุดในแต่ละกลุ่มมหาวิทยาลัยมีดังนี้
กลุ่ม ทปอ.
- กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ จำนวน 25,349 คน
- กลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 24,297 คน
กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.)
- กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ จำนวน 13,500 คน
กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.)
- กลุ่มสาขาวิชาวิศกรรมศาสตร์ 7,265 คน
กลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชน
- กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ 10,784 คน
ดร.พีระพงศ์ ระบุอีกว่า จากข้อมูลจะเห็นว่ามหาวิทยาลัยจะรับเด็กสายสังคมมากที่สุด เพราะเป็นความต้ดงการของผู้เรียน ขณะที่รัฐบาลมีเป้าหมายต้องการเน้นให้ผลิตเด็กสายวิทยาศาสตร์มากกว่า โดยกำหนดสัดส่วนสายวิทย์ และสายสังคม 60 ต่อ 40 ซึ่งมหาวิทยาลัยจะต้องมีการปฎิรูปการจัดการการเรียนการสอนใหม่ แต่การเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์ก็คงไม่ได้ไปเน้นการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์ทั้งหมด เพราะเวลาเราออกไปทำงานนั้นจะต้องใช้ความรู้ทั้งทางด้านวิทย์และศิลป์
ทั้งนี้ หลักสูตรการเรียนการสอนในอนาคตจะต้องไม่แยกสายวิทย์ และศิลป์ ยกเว้นต้องการเรียนเฉพาะด้านจริง ๆ อย่างไรก็ตาม ทปอ. มีการพูดคุยกัน และเห็นว่าการเรียนการสอนไม่ควรแยกสายวิทย์และสายศิลป์ ควรเรียนทั้ง 2 สายควบคู่กันไป
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจาก